คณะวิศวกรรมศาสตร์

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการภัยพิบัติ (หลักสูตรนานาชาติ)

Master of Science Program in Disaster Management (International Program)


จำนวนรับเข้าศึกษา
5 คน/ปี

ระยะเวลาการศึกษาของหลักสูตร
2 ปี

ค่าธรรมเนียมการศึกษาโดยประมาณ 35,000/ภาคการศึกษา

รายละเอียดหลักสูตร
(Program Spacifications)

ข้อมูลการติดต่อ

โทรศัพท์: 055-964104
E-mail: -
จุดเด่นของหลักสูตร
    

1. เป็นหลักสูตรสหวิทยาการภายใต้ความร่วมมือของคณาจารย์คณะต่าง ๆ ภายในมหาวิทยาลัยนเรศวรและความร่วมมือภายใต้เครือข่ายด้านภัยพิบัติระดับนานาชาติ
2. ตอบสนองต่อแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยมีการมุ่งเน้นการปรับปรุงการบริหารจัดการภัยพิบัติทั้งระบบและสร้างขีดความสามารถของประชาชนในการรับมือและปรับตัวเพื่อลดความสูญเสียและเสียหายจากภัยพิบัติและผลกระทบที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
3. ตอบสนองต่อแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) ในส่วนของยุทธศาสตร์ที่ 4 การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน


ปรัชญาของหลักสูตร
     Disaster is defined as a serious disruption of the functioning of a community or a society. A disaster can interrupt essential services such as transportation, communications, electricity, health care and so on. Poor planning of responses can have a significant negative impact. Disaster Management is needed to substantially reduce disaster losses. Disaster Management can be defined as the organization and management of resources and responsibilities for dealing with all humanitarian aspects of emergencies, in particular preparedness, response and recovery in order to lessen the impact of disasters. In order to meet these needs for a more holistic approach to Disaster Management, Naresuan University is offering a Master’s program, based on the above philosophy.
ความสำคัญของหลักสูตร
     Natural disasters have been defined as sudden calamitous event bringing great damage, loss or destruction which seriously disrupt the functioning of a community or a society involving widespread human, material, economic and environmental loss and impacts. Many types of natural disasters have been occurred in Thailand as well as other countries such as flood, drought, landslide, earthquake, tropical storm, wildfire etc. Disaster management cycle i.e. preparedness, response, recovery and mitigation has been designed to reducing disaster risk. However, today there has been insufficiency of the practitioners and researchers for managing disaster effectively. Therefore, this curriculum has been developed for producing graduates with knowledge, skills and ability and able to generate new knowledge in the area of disaster management in order to increase the capacity to cope with disaster impact. The expected learning outcomes of this programme have led graduates to achieve internationalization, innovation, and integration.
กลุ่มอาชีพเป้าหมายเมื่อจบการศึกษา
    

1.Civil service (working within various government ministries, including the foreign office, international development office and local resilience forums)
2.International Institutions (The International Federation of Red Cross and Red Crescent Societies, The United Nations - The Office for the Coordination of Humanitarian Affairs (OCHA), The United Nations High Commission for Refugees (UNHCR), etc.)
3.National Organisations (AusAID, USAID, etc.)
4.NGO’s (local and international)
5.Academia/Research Institutes/Think-Tanks
6.Emergency Management Specialist/Disaster Recovery Specialist/Technological Hazards Program Specialist


ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร
    

ELO1: สามารถปฏิบัติตนอย่างมีคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงาน รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังเคม
ELO2: สามารถเสนอแนะแนวทางและดำเนินการจัดการปัญหาทางด้านคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณอย่างถูกตอ้งและเป็นธรรม
ELO3: สามารถสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม และนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ELO4: สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในงานวิจัยที่มีคุณภาพทั้งในระดับชาติและสากล
ELO5: สามารถบูรณาการกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการวิจัย และศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงานและค้นคว้าวิจัย
ELO6: สามารถสื่อสาร ถ่ายทอดความรู้ และแสดงความคิดเห็นทางวิชาการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ELO7: สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีภาวะผู้นำที่สามารถสร้างปฏิสัมพันธ์ในบริบทของการทำงานเชิงวิชาการและวิชาชีพ
ELO8: สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการประเมินความน่าเชื่อถือ และความแม่นยำ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพ
ELO9: สามารถนำเสนอต่อกลุ่มบุคคลต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสมทั้งในระดับชาติและสากล